Friday, April 3, 2020

Positive Portion


Positive Portion

ส่วนของจังหวะการออกแรง

     ในครั้งนี้ ผมจะพูดถึงเรื่อง ส่วนของ "จังหวะการออกแรง" หรือที่ภาษาอังกฤษใช้คำว่า Positive Portion นะครับ 

       เ
วลาที่เรากำลังเล่นกล้ามอยู่นั้น  มันจะมีอยู่ 2 จังหวะหลักๆ คือส่วนของจังหวะออกแรง ( Positive Portion )  และส่วนของจังหวะผ่อนแรง ( Negative Portion )

       และเนื่องจากการออกแรง หรือผ่อนแรงนั้น มันจะใช้กับท่าที่ "ดัน" และท่าที่ "ดึง" 

       ดังนั้น การจะบอกว่าจังหวะไหนเป็น Positive Portion หรือจังหวะไหนเป็น Negative Portion จึงต้องดูว่าท่าที่กำลังบริหารอยู่นั้น เป็นท่าที่บริหารด้วยการ "ดัน" หรือเป็นท่าที่บริหารด้วยการ "ดึง" 
ท่าที่บริหารด้วยการ "ดัน" ก็ได้แก่ท่าบริหารหน้าอก ,บ่า ,ไทรเซบ / ส่วนท่าที่บริหารด้วยการ "ดึง" ก็ได้แก่ท่าบริหารกล้ามปีก ,ไทรเซบ )

       การอธิบายในเวบหน้านี้ ผมจะพูดถึง จังหวะการออกแรง หรือ Positive Portion เพียงอย่างเดียวนะครับ / นั่นก็หมายความว่า คำอธิบายของภาพที่เพื่อนสมาชิกจะได้ดูข้างล่างนี้ทั้งหมด  ผมจะพูดถึงเรื่อง Positive Portion เพียงอย่างเดียว ( ไม่พูดถึงเรื่อง จังหวะการผ่อนแรง หรือ Negative Portion เลย )  เรามาดูกันเลยครับ  

( ไม่สามารถแสดงภาพได้ ) 

      ภาพบน ) การบริหารกล้ามหน้าอกแบบที่เห็นในภาพข้างบนนี้นั้น  ตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 1 เรายังไม่ได้ออกแรงอะไร / แต่พอเราจะเคลื่อนอุปกรณ์ ( หมายถึงเคลื่อนตัวบาร์เบลล์ ) จาก จังหวะที่ 1 ไปสู่ จังหวะที่ 2 เราจะต้องออกแรงไปที่กล้ามเนื้อหน้าอกเสียก่อน โดยมีจุดประสงค์ก็เพื่อ Contact ( หดเกร็ง ) กล้ามหน้าอก  เราถึงจะเคลื่อนที่อุปกรณ์ คือดันบาร์เบลล์ให้สูงขึ้นไปข้างบนได้

       ต่อจากนั้น ซึ่งก็คือตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 2  หากเราจะเคลื่อนอุปกรณ์กลับลงมา คือลดบาร์เบลล์กลับลงมา เราก็จะต้องเหยียดกล้ามอก ( คือการ Stretch ( เหยียด ) กล้ามหน้าอก )

       เมื่อเราเหยียดกล้ามหน้าอกแล้ว ก็จะทำให้เกิดการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3

       แต่ว่า ในเวบหน้านี้ เราจะพูดถึงจังหวะการออกแรง   ดังนั้น เราจึงไม่ต้องไปสนใจการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3 แต่อย่างใด

       ให้เรารู้เพียงแค่ว่าการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 1 ไป จังหวะที่ 2 ในภาพข้างบนนี้ ก็คือส่วนของจังหวะการออกแรง หรือที่เรียกว่า ส่วนของ Positive ( Positive Portion )  ก็พอ

( ไม่สามารถแสดงภาพได้ ) 

     ภาพบน ) การบริหารกล้าม Shoulder แบบที่เห็นในภาพข้างบนนี้นั้น  ตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 1 เรายังไม่ได้ออกแรงอะไร / แต่พอเราจะเคลื่อนอุปกรณ์ ( หมายถึงเคลื่อนตัวบาร์เบลล์ ) จาก จังหวะที่ 1 ไปสู่ จังหวะที่ 2 เราจะต้องออกแรงไปที่กล้าม Shoulder เสียก่อน โดยมีจุดประสงค์ก็เพื่อ Contact ( หดเกร็ง ) กล้าม Shoulder   เราถึงจะเคลื่อนที่อุปกรณ์ คือดันบาร์เบลล์ให้สูงขึ้นไปข้างบนได้

       ต่อจากนั้น ซึ่งก็คือตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 2  หากเราจะเคลื่อนอุปกรณ์กลับลงมา คือลดบาร์เบลล์กลับลงมา เราก็จะต้องเหยียดกล้าม Shoulder  ( คือการ Stretch ( เหยียด ) กล้าม Shoulder  ) 

       เมื่อเราเหยียดกล้าม Shoulder ก็จะทำให้เกิดการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3

       แต่ว่า ในเวบหน้านี้ เราจะพูดถึงจังหวะการออกแรง   ดังนั้น เราจึงไม่ต้องไปสนใจการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3 แต่อย่างใด

       ให้เรารู้เพียงแค่ว่าการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 1 ไป จังหวะที่ 2 ในภาพข้างบนนี้ ก็คือส่วนของจังหวะการออกแรง หรือที่เรียกว่า ส่วนของ Positive ( Positive Portion ) ก็พอ

( ไม่สามารถแสดงภาพได้ ) 

     ภาพบน ) การบริหารกล้ามหัวไหล่ แบบที่เห็นในภาพข้างบนนี้นั้น  ตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 1 เรายังไม่ได้ออกแรงอะไร / แต่พอเราจะเคลื่อนอุปกรณ์ ( หมายถึงเคลื่อนดัมเบลล์ ) จาก จังหวะที่ 1 ไปสู่ จังหวะที่ 2 เราจะต้องออกแรงไปที่กล้ามหัวไหล่เสียก่อน โดยมีจุดประสงค์ก็เพื่อ Contact ( หดเกร็ง ) กล้ามหัวไหล่นั้น แล้วเราถึงจะยกดัมเบลล์ทั้ง 2 ข้างขึ้นจนขนานกับพื้นได้

       ต่อจากนั้น ซึ่งก็คือตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 2  หากเราจะเคลื่อนอุปกรณ์กลับลงมา คือลดดัมเบลล์ลงมา เราก็จะต้องเหยียดกล้ามหัวไหล่ ( คือการ Stretch ( เหยียด ) กล้ามหัวไหล่ )

       เมื่อเราเหยียดกล้ามหัวไหล่แล้ว ก็จะทำให้เกิดการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3

       แต่ว่า ในเวบหน้านี้ เราจะพูดถึงจังหวะการออกแรง   ดังนั้น เราจึงไม่ต้องไปสนใจการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3 แต่อย่างใด

       ให้เรารู้เพียงแค่ว่าการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 1 ไป จังหวะที่ 2 ในภาพข้างบนนี้ ก็คือส่วนของจังหวะการออกแรง หรือที่เรียกว่า ส่วนของ Positive ( Positive Portion ) ก็พอ

( ไม่สามารถแสดงภาพได้ ) 

     ภาพบน ) การบริหารกล้ามไทรเซบ แบบที่เห็นในภาพข้างบนนี้นั้น ตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 1 เรายังไม่ได้ออกแรงอะไร / แต่พอเราจะเคลื่อนที่จับ  ( Handle ) ลงมาจาก จังหวะที่ 1 ไปสู่ จังหวะที่ 2 เราจะต้องออกแรงไปที่กล้ามไทรเซบเสียก่อน  โดยมีจุดประสงค์ก็เพื่อ Contact ( หดเกร็ง ) กล้ามไทรเซบนั้น / และเมื่อเราหดเกร็งกล้ามไทรเซบแล้ว ก็จะทำให้แขนท่อนปลายเหยียดตรงลงไป ( ซึ่งก็คือการกระทำจาก จังหวะที่ 1 ไป จังหวะที่ 2 นั่นเอง )

       ต่อจากนั้น ซึ่งก็คือตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 2  หากเราจะเคลื่อน Handle ให้กลับขึ้นไปอยู่ตำแหน่งเดิม เราก็จะต้องเหยียดกล้ามไทรเซบ ( คือการ Stretch ( เหยียด ) กล้ามไทรเซบ ) 

       เมื่อเราเหยียดกล้ามไทรเซบแล้ว ก็จะทำให้เกิดการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3

       แต่ว่า ในเวบหน้านี้ เราจะพูดถึงจังหวะการออกแรง   ดังนั้น เราจึงไม่ต้องไปสนใจการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3 แต่อย่างใด

       ให้เรารู้เพียงแค่ว่าการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 1 ไป จังหวะที่ 2 ในภาพข้างบนนี้ ก็คือส่วนของจังหวะการออกแรง หรือที่เรียกว่า ส่วนของ Positive ( Positive Portion ) ก็พอ


( ไม่สามารถแสดงภาพได้ ) 

      ภาพบน ) การบริหารกล้ามต้นขาด้านหน้า แบบที่เห็นในภาพข้างบนนี้นั้น ตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 1 เรายังไม่ได้ออกแรงอะไร / แต่พอเราจะเคลื่อนอุปกรณ์ ( หมายถึงการเคลื่อนแผ่นเหล็กที่เราเอาเท้ายันไว้ ) จาก จังหวะที่ 1 ไปสู่ จังหวะที่ 2 เราจะต้องออกแรงไปที่กล้ามต้นขาด้านหน้าเสียก่อน โดยมีจุดประสงค์ก็เพื่อ Contact ( หดเกร็ง ) กล้ามต้นขาด้านหน้า  เราถึงจะเคลื่อนที่อุปกรณ์ คือถีบแผ่นเหล็กให้ขึ้นไปข้างบนได้

       ต่อจากนั้น ซึ่งก็คือตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 2  หากเราจะเคลื่อนแผ่นเหล็กให้กลับลงมา  เราก็จะต้องเหยียดกล้ามต้นขาด้านหน้า  ( คือการ Stretch ( เหยียด ) กล้ามต้นขาด้านหน้า  )

       เมื่อเราเหยียดกล้ามต้นขาด้านหน้าแล้ว ก็จะทำให้เกิดการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3

       แต่ว่า ในเวบหน้านี้ เราจะพูดถึงจังหวะการออกแรง   ดังนั้น เราจึงไม่ต้องไปสนใจการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3 แต่อย่างใด

       ให้เรารู้เพียงแค่ว่าการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 1 ไป จังหวะที่ 2 ในภาพข้างบนนี้ ก็คือส่วนของจังหวะการออกแรง หรือที่เรียกว่า ส่วนของ Positive ( Positive Portion ) ก็พอ

( ไม่สามารถแสดงภาพได้ ) 

      ภาพบน ) การบริหารกล้ามต้นขาด้านหน้า แบบที่เห็นในภาพข้างบนนี้นั้น ตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 1 เรายังไม่ได้ออกแรงอะไร / แต่พอเราจะเคลื่อนอุปกรณ์ ( หมายถึงการเคลื่อนเบาะที่ยันไว้ที่บริเวณหน้าแข้ง ) จาก จังหวะที่ 1 ไปสู่ จังหวะที่ 2 เราจะต้องออกแรงไปที่กล้ามต้นขาด้านหน้าเสียก่อน โดยมีจุดประสงค์ก็เพื่อ Contact ( หดเกร็ง ) กล้ามต้นขาด้านหน้า  เราถึงจะเคลื่อนที่อุปกรณ์ คือ "งัด" เบาะที่ยันไว้ที่หน้าแข้ง ให้สูงขึ้นไปข้างบนได้

       ต่อจากนั้น ซึ่งก็คือตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 2  หากเราจะเคลื่อนเบาะที่ยันไว้ที่หน้าแข้งให้กลับลงมา  เราก็จะต้องเหยียดกล้ามต้นขาด้านหน้า  ( คือการ Stretch ( เหยียด ) กล้ามต้นขาด้านหน้า  ) 

       เมื่อเราเหยียดต้นขาด้านหน้าแล้ว ก็จะทำให้เกิดการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3

       แต่ว่า ในเวบหน้านี้ เราจะพูดถึงจังหวะการออกแรง   ดังนั้น เราจึงไม่ต้องไปสนใจการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3 แต่อย่างใด

       ให้เรารู้เพียงแค่ว่าการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 1 ไป จังหวะที่ 2 ในภาพข้างบนนี้ ก็คือส่วนของจังหวะการออกแรง หรือที่เรียกว่า ส่วนของ Positive ( Positive Portion ) ก็พอ

( ไม่สามารถแสดงภาพได้ ) 

      ภาพบน ) การบริหารกล้ามต้นขาด้านหลัง แบบที่เห็นในภาพข้างบนนี้นั้น  ตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 1 เรายังไม่ได้ออกแรงอะไร / แต่พอเราจะเคลื่อนอุปกรณ์ ( หมายถึงการเคลื่อนเบาะที่ยันไว้ที่บริเวณด้านหลังข้อเท้า ) จาก จังหวะที่ 1 ไปสู่ จังหวะที่ 2 เราจะต้องออกแรงไปที่กล้ามต้นขาด้านหลังเสียก่อน โดยมีจุดประสงค์ก็เพื่อ Contact ( หดเกร็ง ) กล้ามต้นขาด้านหลัง   เราถึงจะเคลื่อนที่อุปกรณ์ คือ "งัด" เบาะที่ยันไว้ที่บริเวณด้านหลังข้อเท้า ให้สูงขึ้นไปข้างบนได้

       ต่อจากนั้น ซึ่งก็คือตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 2  หากเราจะเคลื่อนเบาะที่ยันไว้ที่บริเวณด้านหลังข้อเท้าให้กลับลงมา  เราก็จะต้องเหยียดกล้ามต้นขาด้านหลัง  ( คือการ Stretch ( เหยียด ) กล้ามต้นขาด้านหลัง  )

       เมื่อเราเหยียดกล้ามกล้ามต้นขาด้านหลังแล้ว ก็จะทำให้เกิดการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3

       แต่ว่า ในเวบหน้านี้ เราจะพูดถึงจังหวะการออกแรง   ดังนั้น เราจึงไม่ต้องไปสนใจการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3 แต่อย่างใด

       ให้เรารู้เพียงแค่ว่าการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 1 ไป จังหวะที่ 2 ในภาพข้างบนนี้ ก็คือส่วนของจังหวะการออกแรง หรือที่เรียกว่า ส่วนของ Positive ( Positive Portion ) ก็พอ

( ไม่สามารถแสดงภาพได้ )  

      ภาพบน ) การบริหารกล้ามปีก แบบที่เห็นในภาพข้างบนนี้นั้น  ตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 1 เรายังไม่ได้ออกแรงอะไร / แต่พอเราจะเคลื่อนอุปกรณ์ ( หมายถึงการเคลื่อนตัวบาร์ ) จาก จังหวะที่ 1 ไปสู่ จังหวะที่ 2 เราจะต้องออกแรงไปที่กล้ามเนื้อปีกเสียก่อน  โดยมีจุดประสงค์ก็เพื่อ Contact ( หดเกร็ง ) กล้ามปีก   เราถึงจะเคลื่อนที่อุปกรณ์ คือดึงบาร์ลงมาด้านล่างได้

       ต่อจากนั้น ซึ่งก็คือตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 2  หากเราจะเคลื่อนบาร์ให้กลับขึ้นไป  เราก็จะต้องเหยียดกล้ามปีก ( คือการ Stretch ( เหยียด ) กล้ามปีก )

       เมื่อเราเหยียดกล้ามปีกแล้ว ก็จะทำให้เกิดการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3

       แต่ว่า ในเวบหน้านี้ เราจะพูดถึงจังหวะการออกแรง   ดังนั้น เราจึงไม่ต้องไปสนใจการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3 แต่อย่างใด

       ให้เรารู้เพียงแค่ว่าการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 1 ไป จังหวะที่ 2 ในภาพข้างบนนี้ ก็คือส่วนของจังหวะการออกแรง หรือที่เรียกว่า ส่วนของ Positive ( Positive Portion ) ก็พอ 

( ไม่สามารถแสดงภาพได้ )  

     ภาพบน ) การบริหารกล้ามปีก แบบที่เห็นในภาพข้างบนนี้นั้น  ตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 1 เรายังไม่ได้ออกแรงอะไร / แต่พอเราจะเคลื่อนอุปกรณ์ ( หมายถึงการเคลื่อนบาร์เบลล์ ) จาก จังหวะที่ 1 ไปสู่ จังหวะที่ 2 เราจะต้องออกแรงไปที่กล้ามเนื้อปีกเสียก่อน  โดยมีจุดประสงค์ก็เพื่อ Contact ( หดเกร็ง ) กล้ามปีก   เราถึงจะเคลื่อนที่อุปกรณ์ คือดึงบาร์เบลล์ขึ้นมาได้

       ต่อจากนั้น ซึ่งก็คือตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 2  หากเราจะเคลื่อนบาร์เบลล์ให้กลับลงไปในตำแหน่งเดิม  เราก็จะต้องเหยียดกล้ามปีก ( คือการ Stretch ( เหยียด ) กล้ามปีก ) 

       เมื่อเราเหยียดกล้ามหน้าปีกแล้ว ก็จะทำให้เกิดการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3

       แต่ว่า ในเวบหน้านี้ เราจะพูดถึงจังหวะการออกแรง   ดังนั้น เราจึงไม่ต้องไปสนใจการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3 แต่อย่างใด

       ให้เรารู้เพียงแค่ว่าการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 1 ไป จังหวะที่ 2 ในภาพข้างบนนี้ ก็คือส่วนของจังหวะการออกแรง หรือที่เรียกว่า ส่วนของ Positive ( Positive Portion ) ก็พอ

( ไม่สามารถแสดงภาพได้ )  

     ภาพบน ) การบริหารกล้ามไบเซบ แบบที่เห็นในภาพข้างบนนี้นั้น  ตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 1 เรายังไม่ได้ออกแรงอะไร / แต่พอเราจะเคลื่อนอุปกรณ์ ( หมายถึงการเคลื่อนบาร์เบลล์ขึ้น ) จาก จังหวะที่ 1 ไปสู่ จังหวะที่ 2 เราจะต้องออกแรงไปที่กล้ามไบเซบเสียก่อน โดยมีจุดประสงค์ก็เพื่อ Contact ( หดเกร็ง ) กล้ามไบเซบ  เราถึงจะเคลื่อนที่อุปกรณ์ คือ "ม้วนข้อ" ยกบาร์เบลล์ขึ้นมาได้

       ต่อจากนั้น ซึ่งก็คือตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 2  หากเราจะเคลื่อนบาร์เบลล์ ให้กลับไปอยู่ที่บริเวณด้านหน้าของต้นขา  เราก็จะต้องเหยียดกล้ามไบเซบ  ( คือการ Stretch ( เหยียด ) กล้ามไบเซบ )

       เมื่อเราเหยียดกล้ามไบเซบแล้ว ก็จะทำให้เกิดการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3

       แต่ว่า ในเวบหน้านี้ เราจะพูดถึงจังหวะการออกแรง   ดังนั้น เราจึงไม่ต้องไปสนใจการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3 แต่อย่างใด

       ให้เรารู้เพียงแค่ว่าการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 1 ไป จังหวะที่ 2 ในภาพข้างบนนี้ ก็คือส่วนของจังหวะการออกแรง หรือที่เรียกว่า ส่วนของ Positive ( Positive Portion ) ก็พอ

( ไม่สามารถแสดงภาพได้ )  

     ภาพบน ) การบริหารกล้ามหน้าท้อง แบบที่เห็นในภาพข้างบนนี้นั้น ตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 1 เรายังไม่ได้ออกแรงอะไร / แต่พอเราจะเคลื่อนอุปกรณ์ ( หมายถึงการเคลื่อน "ที่จับ" หรือ Handle ) จาก จังหวะที่ 1 ไปสู่ จังหวะที่ 2 เราจะต้องออกแรงไปที่กล้ามหน้าท้องเสียก่อน  โดยมีจุดประสงค์ก็เพื่อ Contact ( หดเกร็ง ) กล้ามหน้าท้อง  เราถึงจะเคลื่อนที่อุปกรณ์ คือดึง Handle ลงมาด้านล่างได้

       ต่อจากนั้น ซึ่งก็คือตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 2   หากเราจะเคลื่อน Handle ให้กลับขึ้นไป  เราก็จะต้องเหยียดกล้ามหน้าท้อง ( คือการ Stretch ( เหยียด ) กล้ามหน้าท้อง )

       เมื่อเราเหยียดกล้ามหน้าท้องแล้ว ก็จะทำให้เกิดการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3

       แต่ว่า ในเวบหน้านี้ เราจะพูดถึงจังหวะการออกแรง   ดังนั้น เราจึงไม่ต้องไปสนใจการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3 แต่อย่างใด

       ให้เรารู้เพียงแค่ว่าการเคลื่อนที่อุปกรณ์จาก จังหวะที่ 1 ไป จังหวะที่ 2 ในภาพข้างบนนี้ ก็คือส่วนของจังหวะการออกแรง หรือที่เรียกว่า ส่วนของ Positive ( Positive Portion ) ก็พอ

( ไม่สามารถแสดงภาพได้ ) 

       ภาพบน ) การบริหารกล้ามท้องส่วนล่าง แบบที่เห็นในภาพข้างบนนี้นั้น  ตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 1 เรายังไม่ได้ออกแรงอะไร / แต่พอเราจะยกขาทั้งสองข้างขึ้นมาจาก จังหวะที่ 1 ไปสู่ จังหวะที่ 2 เราจะต้องออกแรงไปที่กล้ามท้องส่วนล่างเสียก่อน  โดยมีจุดประสงค์ก็เพื่อ Contact ( หดเกร็ง ) กล้ามท้องส่วนล่าง  เราถึงจะยกขาทั้งสองข้างขึ้นมาได้

       ต่อจากนั้น ซึ่งก็คือตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 2  หากเราจะผ่อนขาทั้งสองข้างให้กลับลงไป  เราก็จะต้องเหยียดกล้ามท้องส่วนล่าง ( คือการ Stretch ( เหยียด ) กล้ามท้องส่วนล่าง ) 

       เมื่อเราเหยียดกล้ามท้องส่วนล่างแล้ว ก็จะทำให้เกิดการเคลื่อนที่จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3 

       แต่ว่า ในเวบหน้านี้ เราจะพูดถึงจังหวะการออกแรง   ดังนั้น เราจึงไม่ต้องไปสนใจการเคลื่อนที่ของ จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3 แต่อย่างใด

       ให้เรารู้เพียงแค่ว่าการเคลื่อนที่จาก จังหวะที่ 1 ไป จังหวะที่ 2 ในภาพข้างบนนี้ ก็คือส่วนของจังหวะการออกแรง หรือที่เรียกว่า ส่วนของ Positive ( Positive Portion ) ก็พอ

( ไม่สามารถแสดงภาพได้ ) 

      ภาพบน ) การบริหารกล้ามน่อง แบบที่เห็นในภาพข้างบนนี้นั้น  ตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 1 เรายังไม่ได้ออกแรงอะไร / แต่พอเราจะยก หรือ เขย่ง ร่างกายทั้งหมดให้สูงขึ้น  ซึ่งก็คือการเคลื่อนที่จาก จังหวะที่ 1 ไปสู่ จังหวะที่ 2  นั้น  เราจะต้องออกแรงไปที่กล้ามน่องเสียก่อน  โดยมีจุดประสงค์ก็เพื่อ Contact ( หดเกร็ง ) กล้ามน่อง  เราถึงจะเขย่งร่างกายทั้งหมด ให้สูงขึ้นได้

       ต่อจากนั้น ซึ่งก็คือตอนที่อยู่ใน จังหวะที่ 2  หากเราจะผ่อนร่างกายทั้งหมดให้กลับลงมาสู่ตำแหน่งเดิม  เราก็จะต้องเหยียดกล้ามน่อง ( คือการ Stretch ( เหยียด ) กล้ามน่อง ) 

       เมื่อเราเหยียดกล้ามกล้ามน่องแล้ว ก็จะทำให้เกิดการเคลื่อนที่จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3

       แต่ว่า ในเวบหน้านี้ เราจะพูดถึงจังหวะการออกแรง   ดังนั้น เราจึงไม่ต้องไปสนใจการเคลื่อนที่จาก จังหวะที่ 2 ไป จังหวะที่ 3 แต่อย่างใด

       ให้เรารู้เพียงแค่ว่าการเคลื่อนที่จาก จังหวะที่ 1 ไป จังหวะที่ 2 ในภาพข้างบนนี้ ก็คือส่วนของจังหวะการออกแรง หรือที่เรียกว่า ส่วนของ Positive ( Positive Portion ) ก็พอ


- END -