Saturday, May 18, 2024

Natriuretic peptide-นาเทรียูเรติกเพปไทด์

 

NT-proBNP คือ อะไร?  

* * * pro B-type natriuretic peptide (proBNP) เป็ นสารที่หลงั่ จากหวัใจสู่กระแสเลือด เมื่อผนังหัวใจถูกยืดเหยียดซึ่งเป็ นผลมาจากการท างานที่อ่อนล้าของหัวใจ 

* * * ระดับ NT-proBNP สัมพนัธ์โดยตรงกบัระดับความยดืเหยยีดของกล้ามเน้ือหวัใจ   

* * * เมื่อหลั่งจากหัวใจแล้ว proBNPจะแยกออกเป็ น NT-proBNPและ BNP 


* * * NT-proBNPเป็นสารที่ไม่ออกฤทธ์ิทางชีวเคมี นนั่ หมายความว่า NT-proBNP มีความคงสภาพไม่เปลี่ยนแปลงไดง้่ายและมีค่าครึ่งชีวิตอยู่ที่ 60-120 นาที  จึงง่ายต่อการนำมาประยกุ ตใช้พื่อการตรวจวินิจฉัยไดอย่างมีประสิทธิภาพ 

* * * ด้วยเหตุที่ NT-proBNP มีความคงตัวสูงทาให้เทสต์นี้มีความไวในการตรวจภาวะหัวใจล้มเหลวในระยะแรกเริ่มหรือในผปู้่วยที่มีอาการเพียงเล็กนอ้ยได้ 

* * * การวัดระดับของ NT-proBNPในเลือดของผู้ป่วย ทำให้แพทย์สามารถตรวจประเมินโอกาสที่จะเกิดโรคภาวะหัวใจล้มเหลวตลอดจนความรุนแรงของโรคแม้ในผปู้่วยที่ไม่แสดงอาการ 

* * * NT-proBNPได้รับการรับรองจาก US FDAให้ใช้เพื่อการวินิจฉัย และใช้ตรวจประเมินภาวะหัวใจล้มเหลว  และดูความเสี่ยงที่ผู้ป่วยจะเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบเฉียบพลันอีกทั้งยังได้รรับการรับรองว่าสามารถใช้ตรวจประเมินความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจและอัตราการตายในผู้ป่วยที่มีโรคหลอดเลือดหัวใจตีบคงที่ ทั้งยังนำมาใช้เพื่อกำหนดแนวทางในการรักษา ซึ่งจะท าให้ผลการรักษาที่ได้ดีกวการไม่ใช้ NT-proBNP



ข้อดีของการน า NT-proBNP มาใช้คัดกรอง

* * * แนะนำให้ตรวจ NT-proBNPอย่างสม่ำเสมอในประชากรที่มีอายุสูงกว่า 60 ปี ขึ้นไป หรือผู้เป็นเบาหวาน ไขมันในเส้นเลือดสูง ความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดหัวใจเพื่อประเมินความเสี่ยงของการเกิดภาวะหวัใจล้มเหลว 

* * * การตรวจหา NT-proBNPเป็นประจำ ในประชากรที่มีความเสี่ยงสูงสามารถช่วยคดักรองผมู้ีโอกาสเกิดโรคเร้ือรังรุนแรง ซึ่งรวมถึงภาวะหัวใจล้มเหลวและการเกิดภาวะหลอดเลือดหัวใจวิกฤต 

* * * การตรวจพบภาวะหัวใจล้มเหลวในระยะแรกด้วย NT-proBNP มีประโยชน์ต่อการให้การรักษาและการปรับเปลี่ยนสุขนิสัยของคนไข้ช่วยชะลอความรุนแรงของโรคและลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหวัใจข้นัรุนแรงที่อาจเสียชีวิต คนไขจ้ึงมีโอกาสที่จะใชชีวิตที่ยนืยาวขึ้นอย่างมีคุณภาพ 



การ ใช้ NT-proBNP เพื่อการวินิจฉัยภาวะหัวใจล้มเหลว 

* * * NT-proBNP เป็นตวับ่งชี้ที่ช่วยในการตรวจวินิจฉัยภาวะหัวใจล้มเหลวได้รวดเร็ว และ ถูกต้องแมว้ผู้ป่วยมีภาวะหัวใจล้มเหลวเพียงเล็กนอ้ยหรือยงัไม่แสดงอาการได้อย่างแม่นยำ 

* * * ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวกว่า 50% ที่ได้รับการวินิจฉัยผิดพลาดโดยอาศัยการตรวจดูอาการเพียงอย่างเดียว 

* * * NT-proBNPใช้แยกผปู้่วยที่มีอาการหอบเหนื่อยหรือแน่นหน้าอก ว่าสาเหตุเกิดจากภาวะหัวใจล้มเหลวหรือเป็นอาการของโรคอื่นที่ไม่ใช่โรคหัวใจ 



การใช้ NT-proBNP เพื่อการพยากรณ์โรค  

* * * NT-proBNP มีประโยชน์อยา่ งมากในการพยากรณ์โรคในทุกระยะของภาวะหัวใจล้มเหลว

 ระดับความเข้มข้นของ NT-proBNP ที่วดัไดใ้ชใ้นการทา นายความเสี่ยงของการเกิดภาวะหวัใจลม้ เหลว
และใช้เป็ นตัวคาดการณ์ถึงภาวะวิกฤตของหัวใจที่จะเกิดข้ึนในอนาคตในระยะต่างๆได้



การใช้ NT-proBNP ในการรักษาผู้ป่วยทมีภาวะหัวใจล้มเหลว 

* * * จากการศึกษาล่าสุด พบว่าการใช้ NT-proBNP เพื่อกาหนดแนวทางการรักษาภาวะหัวใจล้มเหลวได้ผลดีกวว่าการรักษาแบบมาตรฐานทวั่ ๆ ไป และช่วยใหแพทย์ สามารถปรับวิธีการรักษาไดอ้ย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อเปรียบเทียบกบักรณีศึกษาซ่ึงใชเพียงการตรวจดูอาการทางคลีนิกทั่วไป 

* * * การรักษาภาวะหัวใจล้มเหลวโดยใช้ NT-proBNP เป็นแนวทางนั้น สามารถช่วยลดการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้ ร้อยละ 40 ในผปู้่วยที่มีภาวะหวัใจล้มเหลวเร้ือรัง 

* * * การรักษาภาวะหัวใจล้มเหลวโดยใช้ NT-proBNP เป็น ทำให้ผู้ป่ วยภาวะหัวใจล้มเหลวลดอัตตราการเสียชีวิตและลดอัตราการนอนโรงพยาบาลมีคุณภาพชีวิตโดยรวมที่ดีข้ึน 



ความคุ้มค่าในการใช้NT-proBNP ทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
 
* * * ภาวะหัวใจหัวใจลม้ เหลวเป็นโรคที่มีค่าใชจ้่ายในการดูแลผปู้่วยสูงสุดเมื่อเทียบกบัโรคเร้ือรังอื่นๆ 

* * * ค่าใชก้วา่ 80% ของผู้ป่ วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ใช้เพื่อการวินิจฉัยภาวะหัวใจล้มเหลว 

* * * ความสัมพนัธ์ระหวา่ งค่าใชจ้่ายกบัระดบัความรุนแรงของภาวะหวัใจล้มเหลวเพิ่มสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง 

* * * การใช้ NT-proBNP ในการตรวจวินิจฉัยในห้องฉุกเฉินสามารถช่วย 

////////// ลดการใช้การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียง (ECG)ลงกว่า 58% 

////////// ลดปริมาณการรับผปู้่วยเขา้รักษาตวัในโรงพยาบาลคร้ังแรกลง 13% 

////////// ลดระยะเวลาในการอยู่ในโรงพยาบาลลง 12% 

////////// ลดค่าใชจ้่ายทางการแพทย์ลง 10% 

////////// ลดอัตราการเสียชีวิตหลังให้คนไข้กลับบ้านเหลือเพียง 1% 



ขอขอบคุณข้อมูลจาก : http://www.mengrailab.com/wp-content/uploads/2015/10/NT-2.pdf 

- จบ -